ไปไหนกัน
ขอเชิญชวนพี่น้องๆมาสมัครเพื่อพิกษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเลกันนะครับ เพื่อรักษาความสวยงามของธรรมชาติ เพื่อสิ่งมีชิวิตเล็กๆ และสัตว์ทะเลจะได้มีที่อยุ่ครับ
"รู้จักกันก่อน อาสาสมัครพิทักษ์ทะเล : อสทล. เราคือใคร"
กรม ทช. ขอเชิญพี่น้องคนไทย และผู้สนใจที่รักษ์ทะเลไทยของเรา ร่วมกันมาเป็นอาสาสมัครพิทักษ์ทะเล (อสทล.) หรือ Marine Ranger อีกหนึ่งกิจกรรมดีดีในภารกิจรักษ์ทะเลของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนใจศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.dmcr.go.th/miniprojects/48/19495
สมัครออนไลน์ที่ http://mr.dmcr.go.th/
วันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2562
วันอังคารที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2562
ไปไหนกัน
ไปไหนกัน
ทีมงานไปไหนกันวันนี้ขอปรับโฉมใหม่ของหน้าปกเพื่อตอบรับการเดินทางที่แสนจะตื่นเต้นและเต็มไปด้วยสาระดีดี ที่น่ารู้ และการท่องเที่ยวใหม่ๆในแบบ "ไปไหนกัน" ของเรา และในปีนี้ก็จะมีอะไรดีดีสถานที่ดีดีมาแนะนำให้กับทุกท่านกันค่ะ ... ขอบคุณที่ติดตามกันนะค่ะ
วันอังคารที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562
วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562
วันศุกร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562
พระศิวะ
พระศิวะ
พระศิวะ หรือ พระอิศวร (สันสกฤต: शिव; อังกฤษ: Shiva) หนึ่งในตรีมูรติ หรือเทพเจ้าสูงสุดสามองค์ตามความเชื่อในศาสนาฮินดู (อีกสององค์ได้แก่ พระพรหมและพระวิษณุ)
ประติมากรรมนูนต่ำกึ่งลอยองค์ของพระศิวะและพระปารวตีประดับโคปุรัม ประเทศอินเดีย
ประติมากรรมนูนต่ำกึ่งลอยองค์ของพระศิวะและพระแม่ปารวตีประดับโคปุรัม ประเทศอินเดีย
พระศิวะ ทรงมีพระลักษณะมีรูปกายเป็นชายหนุ่มร่างกำยำ วรรณะขาว (สีผิวขาว) นุ่งห่มหนังเสือเหมือนฤๅษี มีสังวาลย์เป็นลูกประคำหรือกะโหลกมนุษย์ มีงูเห่าคล้องพระศอ ไว้พระเกศายาว ซึ่งจะม้วนเป็นจุฑา (มวยผม) มีพระจันทร์เป็นปิ่นและแม่คงคาอยู่บนยอดจุฑา ซึ่งพ่นน้ำมาตลอด และมีดวงพระเนตรที่สาม (ตาที่ 3) กลางพระนลาฏ (หน้าผาก) ซึ่งโดยปกติจะปิดอยู่เสมอ เชื่อว่าหากเปิดขึ้นเมื่อไหร่จะบันดาลให้ไฟบรรลัยกัลป์จะเผาผลาญล้างโลก (บ้างว่าเป็นพระพรหม) ถือว่าเป็นการสิ้นสุดกัปหนึ่ง ก่อนที่พระพรหมจะสร้างโลกขึ้นมาใหม่[7]
ทรงมีพระพาหนะคือโคนนทิ (วัวเพศผู้สีขาวล้วน) มีพระชายาคือพระปารวตี มีโอรส 2 องค์ คือ พระขันทกุมารและพระพิฆเนศ ทรงประทับอยู่ ณ เขาไกรลาส อันเป็นศูนย์กลางแห่งจักรวาล ชายาอีกองค์คือพระแม่คงคา มีธิดาคือพระแม่มนสาเทวีหรือพระยามี
พระศิวะมีตำนานอันเป็นต้นแบบการร่ายรำของเทพเจ้า ทำให้ทรงมีพระนามว่า "พระนาฏราช" (พระนาฏรายัร) เมื่อแปลงกายลงไปปราบฤๅษีที่ไม่ประพฤติตนอยู่ในเพศดาบส ซึ่งต่อมาชาวฮินดูได้ถือเอาท่าร่ายรำนี้เป็นต้นแบบของการร่ายรำต่าง ๆ มาตราบจนปัจจุบัน
นอกจากนี้แล้ว พระศิวะยังถือว่าเป็นเจ้าแห่งผีหรือปีศาจอีกด้วย โดยมีพระนามเรียกว่า "ปีศาจบดี" หรือ "ภูเตศวร" และมีพระนามอื่นอีก เช่น "รุทร", "ศังกร", "ศุลี", "นิลกัณฐ์", "หระ" หรือ "อีสาน"[8] และยังเป็นเทพประจำทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ อีสาน อีกด้วย [9]
นอกจากนี้ยังเชื่อว่าพระศอของพระศิวะมีสีดำ ทั้งนี้เนื่องจากพระองค์ได้พิษของพญานาคไว้เมื่อครั้งกวนเกษียรสมุทรทำน้ำอมฤตเพื่อช่วยโลก[10] ซึ่งบทหนึ่งในกามนิต-วาสิฏฐี วรรณกรรมอิงพุทธศาสนาได้อ้างถึง สีของความรักว่าเป็นสีดำ เสมือนสีคอพระศิวะ[11]
ในความเชื่อแบบศรีลังกานั้นเชื่อว่าพระศิวะมีพระพาหนะเป็นนกยูง และทรงเป็นเทพเจ้าองค์ปกปักษ์รักษาพระพุทธศาสน
ขอขขอบคุณ : https://th.wikipedia.org
วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2562
วันเข้าพรรษา
“วันเข้าพรรษา”
เป็นวันแรกของการถือศีลอดแบบชาวพุทธ ซึ่งเป็นช่วงที่พุทธศาสนิกชนละเว้นจากสิ่งต่างๆ เช่น เนื้อ สุรา และยาสูบ ส่วนใหญ่มีเพียงนิกายเถรวาทเท่านั้น ไม่รวมนิกายมหายาน ที่ชาวพุทธจะรักษาประเพณีวันเข้าพรรษา อย่างไรก็ตามชาวพุทธเถรวาทหลายคนเลือกที่จะไม่อดอาหาร
วันเข้าพรรษา คือ “การจำพรรษาในฤดูฝน” เนื่องจากมันเกิดขึ้นตรงกับช่วงต้นฤดูฝนของประเทศไทยและเนื่องจากพระสงฆ์ใช้เวลานี้ในการจำพรรษาอยู่ภายในวัดเป็นระยะเวลาสามเดือนเพื่อการศึกษาและการทำสมาธิ ประเพณี “การจำพรรษาในฤดูฝน” นี้มีมาก่อนพุทธศาสนา แต่ต่อมาพระพุทธเจ้าก็ได้รับมาปฏิบัติในช่วงชีวิตของพระองค์ ซึ่งกระตุ้นให้คนจำนวนมากทำตามพระองค์ในวันนี้
พระภิกษุสงฆ์หลายคนจะเข้าสู่ทางธรรมวันเข้าพรรษา โดยจำพรรษาอยู่ในวัดวาอารามจนสิ้นสุดฤดูฝนในวันออกพรรษา จำนวนฤดูฝนที่เรียกว่า “พรรษา” ที่ใช้ในการจำพรรษาคือวิธีการจำนวนปีที่พระภิกษุสงฆ์ไทย “ได้เป็นพระภิกษุสงฆ์” หลังจาก พรรษา พุทธศาสนิกชนชาวไทยจะฉลองเทศกาล “กฐิน” อันเป็นช่วงที่ผู้คนนำของไปบริจาคให้แก่วัดในท้องถิ่นซึ่งมักประกอบด้วยผ้าไตรใหม่ที่มอบให้พระภิกษุ
วันอังคารที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562
อุทยานแห่งชาติปางสีดา กับเทศกาลดูผีเสื้อ ครั้งที่ 14
ผีเสื้อ
ที่มาพร้อมกับความสวยงามและความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติช่วงต้นฤดูผล และ 1 ในสถานที่ที่พลาดไม่ได้เลยในการชมผีเสื้อของเมือไทย ต้องที่นี่เลยครับ อุทยานแห่งชาติปางสีดา จังหวัดสระแก้วครับ
วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2562
วันที่ 1 มิ.ย. - 31 ก.ค. 2562 เทศกาลทุ่งกระเจียวบานได้เริ่มขึ้นแล้ว
วันที่ 1 มิ.ย. - 31 ก.ค. 2562
ทีมงานไปไหนกันวันนี้ขอเสนอ อุทยานแห่งชาติไกรทอง
ช่วงที่ดอกกระเจียวบานมากที่สุดคือช่วงวันเข้าพรรษา เลยครับ บานสุดๆ และหมอกหนามากเพราะวันนั้นฝนตกก่อนผมไปดูมา 1 วัน และคืนนั้นฝนตกซ้ำอีก เช้าหมอกเลยเยอะครับ
หากเอ่ยชื่อทุ่งดอกกระเจียวอาจต้องเอ่ยถามต่อว่าที่ไหน แต่ถ้าบอกว่าทุ่งบัวสวรรค์ ก็ต้องที่นี่เท่านั้น อุทยานแห่งชาติไทรทอง อำเภอหนองบัวระเหว ชัยภูมิ ซึ่งถือเป็นทุ่งดอกกระเจียวหรือบัวสวรรค์ที่มีชื่อเสียงและสวยที่สุดในประเทศก็ว่าได้
ดอกกระเจียวจะบานสีชมพูสะพรั่งในฤดูฝน ที่อุทยานแห่งชาติไทรทองบานประมาณเดือนกรกฎาคม ปีไหนฝนเยอะตกสม่ำเสมอ รับประกันว่าดอกกระเจียวจะยิ่งผลิเต็มทุ่งสวยงาม ทางอุทยานจัดทำทางเดินศึกษาธรรมชาติอย่างดี พร้อมลานกางเต็นท์ให้บริการสำหรับผู้ต้องการค้างแรมภายในอุทยาน
นอกจากทุ่งดอกกระเจียวหรือบัวสวรรค์ ในอุทยานยังมีสถานที่ท่องเที่ยวธรรมชาติขึ้นชื่ออื่นๆ อีกอย่าง ผาหำหด ผาพ่อเมือง หรือ น้ำตกไทรทอง อีกด้วย
ชมนิทรรศการต่าง ชมทุ่งดอกกระเจียว การจำหน่ายสินค้า OTOP ชมวิวสุดแผ่นดิน ชมทุ่งบัวสวรรค์ และลานหินงาม
ขอขอบคุณ : https://thai.tourismthailand.org/home
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)